แนวปฏิบัติในการจัดตั้งหมู่ยุวกาชาด และแต่งตั้งคณะกรรมการยุวกาดสถานศึกษา สํานักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน  เพื่อความเข้าใจในการดําเนินการจัดตั้งหมู่ยุวกาชาดและแต่งตั้งกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา สํานักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน จึงจัดทําแนวปฏิบัติในการตั้งหมู่ยุวกาชาดและแต่งตั้ง คณะกรรมการยุวกาชาดสถานศึกษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการดําเนินการ


การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม
ภายใต้โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมภิบาล ในสถานศึกษา (เขตสุจริต) ประจำปี พ.ศ. 2563

1.1  คำชี้แจง
การเสริมสร้างความรู้ด้านการป้องกันและต่อต้านการทุจริต เป็นกิจกรรมภายใต้โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมภิบาล ในสถานศึกษา (เขตสุจริต) ประจำปี พ.ศ. 2563 เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและทัศนคติที่ถูกต้องเกี่ยวกับการคิดแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม และเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม โดยผู้เข้ารับการอบรมดำเนินกา รดังนี้

                    1. บุคลากรทางการศึกษา เนื้อหา สื่อนำเสนอใน PowerPoint  ผลประโยชน์ทับซ้อน...การเสริมสร้างความรู้ด้านการป้องกันและต่อต้านการทุจริตหัวข้อ การแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมภายใต้โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมภิบาล ในสถานศึกษา (เขตสุจริต) ประจำปี พ.ศ. 2563                     

                     2. บุคลากรทางการศึกษาทุกคน จัดทำแบบประเมินหลังเข้ารับการอบรม
                     3. จัดทำเกียรติบัตรแก่ผู้ผ่านการอบรม   

 1.2  เนื้อหาสาระ
1. ความหมาย รูปแบบ ของการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม
2.  กรณีตัวอย่างเรื่องใกล้ตัวเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน
3.  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขัดกันฯ ของการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม
4. วิธีคิดแบบ Analog thinking (ฐาน 10)/Digital thinking (ฐาน 2)


นวัตกรรมทางการศึกษา Educational Innovation เป็นบทเรียนสำหรับบุคคลทั่วไป  มีขั้นตอนการเรียนรู้ คือ  (1) ชมวีดิทัศน์, (2) ศึกษาบทเรียน 5 หัวข้อ, (3) ทำแบบทดสอบ 5 ข้อ, (4) ทำแบบประเมินความพึงพอใจ, (5) พิมพ์วุฒิบัตรผ่านการศึกษาบทเรียน/ฝึกอบรม (ผ่านการทดสอบร้อยละ 80, และทำแบบประเมินความพึงพอใจทุกข้อ)
ผู้ศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา  แนวคิดพื้นฐานของนวัตกรรมทางการศึกษา  ลักษณะของนวัตกรรมทางการศึกษา  ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา  กระบวนการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา  และบรรณานุกรม  เพื่อนำไปปรับใช้ในการออกแบบนวัตกรรมทางการศึกษาสำหรับการจัดการเรียนรู้ในโอกาสต่อไป
คู่มือ (Handbook Manual Guide) เป็นบทเรียนสำหรับบุคคลทั่วไป  มีขั้นตอนการเรียนรู้ คือ (1) ชมวีดิทัศน์, (2) ศึกษาบทเรียน 6 หัวข้อ, (3) ทำแบบทดสอบ 5 ข้อ, (4) ทำแบบประเมินความพึงพอใจ, (5) พิมพ์วุฒิบัตรผ่านการศึกษาบทเรียน/ฝึกอบรม (ผ่านการทดสอบร้อยละ 80, และทำแบบประเมินความพึงพอใจทุกข้อ)
ผู้ศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ ความหมายของคู่มือ ประเภทของคู่มือ ประโยชน์ของคู่มือ องค์ประกอบหรือโครงสร้างของคู่มือ ลักษณะของคู่มือที่ดี กระบวนการสร้างคู่มือ และบรรณานุกรม  ซึ่งจะสามารถนำไปปรับ/ประยุกต์เพื่อสร้างคู่มือปฏิบัติงานตามภารกิจของตนเองในโอกาสต่อไป